บทความ

การออกแบบมอเตอร์สตาร์ทด้วยSolidWorks

การออกแบบมอเตอร์สตาร์ทด้วย SolidWorks รูปภาพตัว อย่างของ Final Assembly การออกแบบมอเตอร์สตาร์ทโดยการใช้โปรแกรม SolidWorks มีทั้งหมด 6  part       มอเตอร์สตาร์ท  intro    1.  มอเตอร์สตาร์ท part1            2.  มอเตอร์สตาร์ท part2   มอเตอร์สตาร์ท  part2(1) มอเตอร์สตาร์ท  part2(2)    3.  มอเตอร์สตาร์ท part3    4.  มอเตอร์สตาร์ท part4    5.  มอเตอร์สตาร์ท part5    6.  มอเตอร์สตาร์ท A ssembly

ระบบไฟชาร์จของรถยนต์

รูปภาพ
ระบบไฟชาร์จของรถยนต์ ระบบไฟชาร์จในรถยนต์จะใช้แบตเตอรี่เป็นต้นกำเนิดพลังงานไฟฟ้าที่นำไปจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในรถยนต์ต่างๆ   และเมื่อมีการนำพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ไปใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในรถยนต์ก็จะทำให้แบตเตอรี่หมดพลังงานไปได้    ดังนั้น เราจึงจำเป็นต้องนำแบตเตอรี่รถยนต์ไปทำการประจุไฟใหม่ทุกครั้ง   ซึ่งเป็นความยุ่งยากในการใช้งาน เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาในการที่จะต้องนำเอาแบตเตอรี่ไปชาร์จไฟอยู่บ่อยๆ จึงได้มีการคิดค้นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเพื่อทำหน้าที่ผลิตกระแสไฟฟ้าออกมาสำหรับจ่ายให้กับอุปกรณ์ต่างๆ ในรถยนต์ขณะที่เครื่องยนต์ทำงาน และในเวลาเดียวกันก็จะทำการประจุไฟเข้าไปไว้ในแบตเตอรี่ด้วย   ทั้งนี้เพื่อจะได้มีพลังงานสำรองในแบตเตอรี่เพียงพอที่จะใช้งานในขณะที่เราไม่ได้สตาร์ทเครื่องยนต์ด้วย ในที่นี้เราเรียกว่า   ระบบไฟชาร์จ ( Charging system)    การผลิตพลังงานไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าต่างกันกับการผลิตพลังงานไฟฟ้าของ แบตเตอรี่รถยนต์   โดยที่เครื่องกำเนิดไฟฟ้าในรถยนต์สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ไม่สิ้นสุ...

แบตเตอรี่

รูปภาพ
แบตเตอรี่รถยนต์ แบตเตอรี่           หน้าที่ของแบตเตอรี่ คือ “ ทำหน้าที่เก็บไฟสำรอง ” เมื่อไดชาร์จปั่นกระแสไฟมา หากไฟเหลือใช้ ก็จะนำมา “ เก็บ ” ไว้ที่แบตเตอรี่ พูดง่ายๆ ก็เหมือนแท็งก์น้ำ หรือธนาคารก็ได้ เมื่อมีการใช้ไฟฟ้ามากกว่าที่ไดชาร์จปั่นได้ เช่น จังหวะแอร์ทำงาน เปิดไฟหน้า ฯลฯ ก็จะใช้ไฟจากแบตเตอรี่ไปด้วย หรือตอน “ สตาร์ทเครื่อง ” ที่ต้องใช้ไฟมาก เราต้องอาศัยแบตเตอรี่ในการป้อนไฟมาหมุนไดสตาร์ทก่อน เพราะตอนนั้นไดชาร์จยังหมุนไม่พอที่จะสร้างกระแสไฟได้ พอเครื่องติดแล้ว ก็กลับสู่วงจรเดิม แต่ถ้าแบตเตอรี่ไฟหมด  เสื่อมสภาพ “ เก็บไฟไม่อยู่ ” ก็จะสตาร์ทไม่ได้ ไม่มีกำลังไฟพอ ต้อง “ พ่วงแบต ” รถถึงจะสตาร์ทได้ อันนี้รถสามารถวิ่งได้ครับ เพราะไดชาร์จยังป้อนกระแสไฟได้อยู่ แต่เมื่อดับเครื่อง แล้วสตาร์ทใหม่ หรือจอดนานๆ จะสตาร์ทไม่ติดอีกครั้ง สำหรับตัวแบตเตอรี่ ก็มีอายุการใช้งานอยู่ประมาณ 2 ปี ไม่เกินนี้ บางคันอาจจะ “ ใช้นานกว่านั้น ” หรือ “ เจ๊งเร็วกว่านั้น ” ก็อยู่ที่การบำรุงรักษา บางคนปล่อยน้ำกลั่นแห้งบ่อยๆ ไม่เคยดูแล อายุมันก็สั้น บางคนดูแลดี น้ำกลั่นไม่เคยขาด...

ไดชาร์จ (Alternator)

รูปภาพ
ไดชาร์จ ( Alternator) ไดชาร์จ          ไดชาร์จ ( Alternator) :  หน้าที่ของไดชาร์จ คนส่วนใหญ่คิดว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในรถยนต์ทั้งหมดใช้ไฟจากแบตเตอรี่   ไม่ว่าจะติดเครื่องยนต์ หรือไม่ได้ติดเครื่องยนต์ แล้วไดชาร์จมีหน้าที่เติมไฟ หรือชาร์จไฟเข้าแบตเตอรี่ ซึ่งความเข้าใจแบบนั้นเป็นความเข้าใจที่ผิด ที่ถูกต้องคือ เมื่อเครื่องยนต์ทำงานเครื่องใช้ไฟฟ้าในรถยนต์ทั้งหมดจะใช้ไฟจากไดชาร์จไดชาร์จไม่ได้มีหน้าที่ชาร์จไฟเข้าแบตเตอรี่โดยตรง แต่ที่ไดชาร์จสามารถชาร์จไฟเข้าแบตเตอรี่ได้เพราะว่าแรงดันไฟที่ไดชาร์จผลิตออกมาได้นั้นมีค่าสูงกว่าแรงดันไฟที่แบตเตอรี่มี จึงทำให้เกิดการไหลของกระแสไฟศักย์สูงไปยังกระแสไฟศักย์ต่ำ และสาเหตุที่ทำให้คนส่วนใหญ่เข้าใจผิดแบบนั้นก็เพราะว่าเราคนไทยเรียกมันว่า " ไดชาร์จ " ซึ่งจริงๆ แล้วชื่อของไดชาร์จคือ " อัลเทอร์เนเตอร์ " ซึ่งแปลว่า เครื่องปั่นไฟ โดยปกติที่รอบเดินเบาของเครื่องยนต์แรงดันไดชาร์จขณะเปิดโหลดจะอยู่ที่ 13.9V – 14.5V โหลดในที่นี้จะมีอยู่ 2 อย่าง คือ แอร์และไฟหน้า เพราะฉะนั้นในขณะที่เครื่องยนต์ทำงานเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมดในรถยนต์จ...

การสร้างแบบจำลองและการสาธิตการทำงานของมอเตอร์สตาร์ท

รูปภาพ
   วิธีการทำแบบจำลองมอเตอร์สตาร์ทแบบง่ายๆ                               อุปกรณ์                1. ชุดมอเตอร์ขนาดเล็ก                2. บอร์ดแบตเตอรี่ ขนาดถ่าน 2A                3. แบตเตอรี่ หรือถ่านขนาด 2A                4. ฟิวเจอร์บอร์ด                5. ปืนกาว     การทำงานของมอเตอร์สตาร์ท(แบบจำลอง)        มอเตอร์สตาร์ทแบบทดรอบจะมีการทำงานเหมือนกับมอเตอร์สตาร์ทแบบธรรมดาโดยมีขั้นตอนการทำงาน  3 ขั้นตอนคือ       1. สวิตส์จุดระเบิดอยู่ในตำแหน่ง St เฟืองขับเริ่มเลื่อนเข้าขบเฟืองล้อช่วยแรง เมื่อบิดสวิตช์จุดระเบิดอยู่ในตำแหน่ง St กระแสไฟฟ้าจะไหลจากสวิตช์จุดระเบิดเข้าขั้ว 50 ไปยังขดลวดชุดดึงไปยังขั้ว C เข้าขดลวดฟิลด์คอยล์ ผ่านแปรงถ่...

“มอเตอร์สตาร์ท” กับ “ไดชาร์จ” ต่างกันอย่างไร

รูปภาพ
  “มอเตอร์สตาร์ท” กับ “ไดชาร์จ”  มีหน้าที่ต่างกันอย่างไร ไดชาร์จ  หรือ อัลเทอร์เนเตอร์ เปรียบเสมือนเครื่องผลิตไฟฟ้า เพื่อปั่นกระแสไฟออกมาและนำไฟไปจ่ายให้กับ อุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ในรถยนต์ เช่น ระบบแอร์, เเตร, ไฟหน้า, วิทยุ และส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องกับระบบไฟฟ้าในรถยนต์ทั้งหมด และในพลังงานบางส่วนก็จะถูกเก็บไว้ในเเบตเตอรี่รถยนต์ให้เต็ม เพื่อพร้อมจ่ายไฟได้เสมอ โดยไดชาร์จจะทำงานขณะที่เครื่องยนต์ทำงานเท่านั้น สัญญาณไดชาร์จเสื่อม  : รอบเดินเบา, ความสว่างของไฟหน้าลดลง, ระดับความเย็นแอร์ลดน้อยลง ถ้าหากไดชาร์จเสีย จะทำให้ไม่มีไฟฟ้าออกมาใช้ในรถ รถจะไม่มีไฟใช้ ทำให้เครื่องหยุดเดิน(ดับ) และไม่สามารถขับต่อได้ มอเตอร์สตาร์ท หรือ ไดสตาร์ท เป็นมอเตอร์ต้นกำลังเพื่อฉุดให้เครื่องยนต์ติดตอนเวลาสตาร์ทรถยนต์ สัญญาณไดสตาร์ทเสื่อม : หากไดสตาร์ทเสีย ถึงในแบตเตอรี่จะมีไฟอยู่เต็มแค่ไหน ก็จะสตาร์ทไม่ติด เพราะว่ามอเตอร์ไม่หมุน อ้างอิง :  http://www.e-toyotaclub.net/site/Car-Variety-%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%...

การถอดประกอบมอเตอร์สตาร์ท

รูปภาพ
การถอดประกอบมอเตอร์สตาร์ท      ขั้นตอนการถอดประกอบและตรวจเช็คไดสตาร์ททุกๆ แบบจะมีขั้นตอนที่เหมือนๆ กัน จึงควรจะศึกษาขั้นตอนต่างๆ ให้เข้าใจ เพื่อที่จะปฏิบัติได้ถูกต้อง และไม่ทำให้ไดสตาร์ทเกิดการเสียหายและชำรุด การถอดมอเตอร์สตาร์ท การถอดมอเตอร์สตาร์ททำได้ดังนี้ คลายสกรูที่ยึดเสื้อของแปรงถ่านออก ถอดอาร์มาเจอร์เบรกออก คลายโบลต์ที่ยึดโครงมอเตอร์สตาร์ทออก ถอดสลักจุดหมุนก้ามปูออก คลายสกรูที่ยึดโซลีนอยด์ออก แยกส่วนประกอบต่างๆ ของมอเตอร์สตาร์ทออก ใช้ไขควงแบนหรือเหล็กปลายแหลมงัดแหวนล็อกออก ดึงปลอกกันชนออก ดึงชุดโอเวอร์รันนิ่งคลัตช์ออก การถอดไดสตาร์ทแสดงดังรูปที่ 4.38 ส่วนรูปที่ 4.39 แสดงภาพแยกชิ้นส่วนไดสตาร์ท รูปที่ 4.38 การถอดไดสตาร์ท รูปที่ 4.39 ภาพแยกชิ้นส่วนไดสตาร์ท การตรวจสอบอาร์มาเจอร์ การตรวจสอบอาร์มาเจอร์มีขั้นตอนดังนี้ 1. ตรวจการรั่วลงกราวด์ของขดลวดอาร์มาเจอร์ โดยใช้โอห์มมิเตอร์หรือหลอดไฟทดสอบ ( test lamp) วัดระหว่างซี่คอมมิวเทเตอร์กับแกนอาร์มาเจอร์ สายที่จี้ซี่คอมมิวเทเตอร์ให้หมุนไปรอบๆ เข็ม ของโอห์มมิเตอร์จะต้องไม่ขึ้น ...